การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป (General Purpose Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับงานให้เหมาะสมกับลักษณะงานของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ประเภท ดังต่อไปนี้
อ่านเพิ่มเติม
อ่านเพิ่มเติม
ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน
ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน (Application Software for Specific Surpose) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับงานขององค์กรใดองค์กรหนึ่งโดยเฉ อ่านเพิ่มเติม
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานเฉพาะอย่างตามความต้องการของผู้ใช้ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ อ่านเพิ่มเติม
การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์
การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีข้อกำหนดความต้องการของอุปกรณ์สำหรับใช้ในการตัดสินใจก่อนที่จะติดตั้งโปรแกรมหรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรม มีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ
โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ (Standalone Utility Programs) เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ
1) โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs) เป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว มีดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
โปรแกรมอรรถประโยชน์
โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Programs) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง เพื่อการจัดการงานพื้นฐานและบริการต่างๆ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
3) ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded Opereting System) เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้กับคอมพิวเตอร์พกพา มีดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
2) ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network Operating System) เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการงานด้านการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ มีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
ประเภทของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1) ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (Stand-Alone Operating System) เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือโน๊ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ มีดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
1) ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (Stand-Alone Operating System) เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือโน๊ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ มีดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
รูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน
2) แบบกราฟิก (Graphic User Interface : GUI) เป็นรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งานโดยการใช้รูปภาพเล็กๆ เป็นสัญ อ่านเพิ่มเติม
รูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้
รูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน ระบบปฏิบัติการมีรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน 2 แบบ ดังนี้
1) แบบบรรทัดคำสั่ง (Command-Line Interface) เป็นรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้ในยุคแรกๆ โดยผู้ใช้ต้องพิมคำสั่งให้ระบบปฏิบัติการทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่ อ่านเพิ่มเติม
1) แบบบรรทัดคำสั่ง (Command-Line Interface) เป็นรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้ในยุคแรกๆ โดยผู้ใช้ต้องพิมคำสั่งให้ระบบปฏิบัติการทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่ อ่านเพิ่มเติม
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ (Operating System) หรือเรียกย่อยๆว่า โอเอส(OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมและประสานการทำงานระหว่างอุป อ่านเพิ่มเติม
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ระบบสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ อ่านเพิ่มเติม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึงชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)